จริง ๆ แล้วเป็นเรื่องที่มันมีที่มีและที่ไป ซึ่งหลายคนอาจจะไม่ทราบกันอย่างถ่องแท้นัก *** ขอตั้งคำถามแรก ๆ ก่อนนะครับ ว่า … ท่านผู้อ่านเข้าใจคำว่า capacity design ของ การออกแบบจุดต่อไหมครับ . ในขั้นตอนการออกแบบการต่อโครงสร้าง เราต้องพิจารณา ฝั่ง LOAD และ ฝั่ง RESISTANCE ไปพร้อม ๆ กัน ฝั่ง LOAD เราก็คำนวณกันไป เริ่มจาก การกำหนด live load จาก มาตรฐานหรือข้อกำหนดควบคุมอาคาร รวมไปถึงการใช้ judgment จาก ผู้ออกแบบเพิ่มเติม ส่วน dead load เราก็หามาได้จากการคำนวณน้ำหนักของตัวโครงสร้างทั้ง เสา คาน หลัก ๆ ก็พื้นที่ เรานำมาประกอบกันขึ้นเป็นตัวอาคาร … ท้ายสุด พอเราวิเคราะห์โครงสร้าง หรือ structural analysis […]
Monthly Archives: August 2018
เรื่องการใช้โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้างอย่างเช่น SAP2000 ETABS STAAD.Pro หรือโปรแกรมอะไรก็ตาม ในการช่วยคำนวณหาแรงภายในที่เกิดขึ้นใน member จะช่วยผู้ออกแบบให้สามารถทำงานได้รวดเร็วขึ้น แต่อย่างไรก็ตามผู้ใช้งานก็ควรที่จะมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องของทฤษฎีต่างๆที่ผู้พัฒนาโปรแกรมนำมาใช้ด้วยนะครับ เพื่อที่จะได้ใช้งานโปรแกรมได้อย่างถูกต้อง . ที่เกริ่นมาอย่างนี้เนื่องจากว่า ทางทีมงานได้จัดทำ Calculation Sheet สำหรับการออกแบบคานใน condition ต่างๆ คือ F2 (doubly symmetric — compact web + compact flanges) ไปจนถึง F5 (singly symmetric —- slender web + compact, non-compact, slender flanges) แต่พบข้อสังเกตที่ตัวโปรแกรม SAP2000 ที่นำมาใช้เปรียบเทียบผลลัพธ์ของค่า moment & shear capacity ของคานหน้าตัดต่างๆครับ . โดยข้อสังเกตที่พบก็มีดังนี้ครับ . 1. เมื่อคานเป็นแบบ singly symmetric […]
หลายๆท่านอาจจะยังมีคำถาม หรือ ข้อสงสัยว่า โครงสร้าง PEB มีข้อดีและประหยัดต้นทุนได้มากกว่า โครงสร้างที่เป็นโครงถักหรือโครงเหล็กรูปพรรณจริงๆหรือไม่นะครับ วันนี้ก็เอาข้อมูลที่จะช่วยตอบคำถามทุกคนให้กระจ่างมาฝากกันครับ . โดย Condition ต่างๆ เช่น น้ำหนักบรรทุก ความกว้างของ span และ bay จะระบุให้มีขนาดที่เท่ากันเพื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบครับ โดย span ที่ทำการศึกษาจะมีความกว้างที่ : 20 25 และ 30 เมตร และ bay กว้าง 6 เมตร เท่ากันหมดครับ . งั้นจะขอเริ่มด้วยโครงสร้างที่เป็นโครงถัก ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้จาก Manual ของบริษัท Pacific Pipe ที่ใช้เหล็กท่อ (HSS) มาประกอบเป็นโครงสร้าง Truss ครับ ซึ่งการใช้ manual นี้ เคยเขียนไปก่อนหน้านี้แล้ว สามารถดูย้อนหลังได้ตามลิงค์นี้ (https://www.facebook.com/ssibuildingtechnology/posts/519871575065742) โดยการกำหนด conditions ต่างๆจะเป็นไปตามรูปที่ […]
พฤติกรรมการรับแรง และแนวทางการคำนวณความสามารถในการรับแรงของแปเหล็กขึ้นรูปเย็น cold-formed purlin
ปัจจัยหลักสำหรับงานก่อสร้างสำหรับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นฝั่ง Owner หรือ Contractor ก็ตาม ก็น่าจะเป็นต้นทุนนะครับ เพราะฉะนั้นในการออกแบบโครงสร้างอาคารโกดังหรือโรงงาน ที่ไม่ได้ใช้อยู่อาศัยและมีความสำคัญน้อยๆ ก็ควรที่จะออกแบบให้โครงสร้างมีขนาดเล็กที่สุดเท่าที่จะสามารถทำได้เพื่อลดต้นทุน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันสำหรับการประมูลงานด้วยครับ . ปัจจัยที่มีผลต่อการออกแบบอย่างที่ทราบกันดีก็จะมีเกณฑ์อยู่ 2 เกณฑ์ คือ (1.) ความแข็งแรง (strength) และ (2.) ความสามารถใช้งานได้ดี (Serviceability) ซึ่งถ้าอยากที่จะประหยัดให้ได้มากกว่าปกติแล้ว เราสามารถทำใช้เกณฑ์การออกแบบจาก MBMA2012 มาใช้ได้ เช่น Deflection limit โดยเกณฑ์การออกแบบเหล่านี้จะยอมให้ชิ้นส่วนของโครงสร้างแอ่นตัวได้มากกว่าปกติ เช่น L/120 ซึ่งคนที่ใช้งานอาจจะรู้สึกว่าโครงสร้างมันกระพือได้หรือตกท้องช้างเยอะ (อาจจะเสียวๆครับ) แต่ไม่ได้มีผลต่อความแข็งแรงแต่อย่างใด . เพราะฉะนั้นนอกจากศิลปะในการออกแบบแล้ว การเลือกใช้เกณฑ์ในการออกแบบก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่สามารถช่วยให้ประหยัดขึ้นได้ด้วยครับ หลังจากเกริ่นมาซะยืดยาวกก็ขอเข้าเรื่องขั้นตอนในการทำ Optimization ได้เลยนะครับ (สำหรับท่านที่มีวิธีอื่นๆในการทำ ก็สามารถเอามาแชร์กันได้นะครับ) . ซึ่งขั้นตอนในการทำก็จะเป็นดังนี้นะครับ 1. ขั้นตอนการสร้าง Model (Model Creation) จาก SAP2000 – สร้างโมเดลและทำ […]
ก่อนที่จะพูดถึงเรื่องการปรับลดน้ำหนักบรรทุกจรบนหลังคา ผมก็อยากจะขอพูดถึงชนิดของน้ำหนักบรรทุกจรก่อนนะครับ ซึ่งใน Metal Building Systems Manual 2012 (MBMA2012) ได้ให้คำจำกัดความที่แตกต่างกัน ซึ่งการนำไปใช้งานในการออกแบบโครงสร้างหลังคาก็แตกต่างกันด้วยครับ โดย Load ทั้ง 2 ชนิดที่ว่านั้น คือ . 1. น้ำหนักบรรทุกจร (Live Load) ซึ่งในที่นี้ คือ น้ำหนักที่เกิดขึ้นจากการใช้งานอาคาร หรือโครงสร้างอื่นๆ ที่ไม่รวมไปถึงน้ำหนักบรรทุกจากงานก่อสร้างและสิ่งแวดล้อม เช่น น้ำหนักบรรทุกจากลม น้ำหนักบรรทุกจากน้ำฝน น้ำหนักบรรทุกจากแผ่นดินไหว น้ำหนักบรรทุกจากน้ำท่วม หรือน้ำหนักบรรทุกคงที่ อ้างอิงบทบัญญัติอาคารนานาชาติ (International Building Code ปี 2012) 2. น้ำหนักบรรทุกจรบนหลังคา (Roof Live Load) คือ น้ำหนักบรรทุกบนหลังคาที่เกิดขึ้น (1) ระหว่างการการบำรุงรักษาโดยคนงาน อุปกรณ์ และวัสดุ (2) ระหว่างอายุการใช้งานของอาคารโดยวัตถุที่สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น กระถางต้นไม้ หรืออุปกรณ์ตกแต่งขนาดเล็กอื่นๆที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับลักษณะการใช้งานอาคาร […]
มาดู รูปแบบการวิบัติ ของ bolted connection หรือข้อต่อที่ต่อด้วย bolt กันนะครับ ว่าจะมี limit state พื้นฐานรูปแบบใดบ้าง โดยปกติ ที่เป็นไปได้คือ – การขาดของ bolt ด้วยแรงเฉือน สำหรับ shear connection หรือด้วยแรงดึง สำหรับ tension connection – การวิบัติด้วย bending ที่เหล็กฉาก สำหรับ tension connection เรียกว่า prying action – การวิบัติที่รูเจาะของ shear tab จากแรงกดของ bolt เพราะแผ่นรับแรงเฉือน บางเกินไป เรียกว่า bearing failure – การเฉือนขาดของแผ่น shear tab ที่หน้าตัดรวม (gross area) เรียกว่า gross […]